การทำ DNA barcoding ในยาจีนแบบเม็ดโดยใช้ปฏิกิริยา PCR เป็นตัวเชื่อม

 การใช้วิธี DNA barcoding 

เป็นวิธีการที่ใช้ระบุสปีชีส์ในห้องปฏิบัติการทั่วไป แต่อย่างไรก็ตามการใช้เทคนิค PCR โดยใช้ full-length DNA barcode เป็นเรื่องที่ทำได้ยากเนื่องจากชิ้นดีเอ็นเอจะเกิดการแตกหักอย่างรุนแรง ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้ตัวเชื่อมในปฏิกิริยา ligation-mediated PCR ถูกสร้างให้ตรงกับดีเอ็นเอเป้าหมายที่แยกได้จาก CCMG  product (ผลิตภัณฑ์เม็ดยาจีนเข้มข้น)

ตัวอแดปเตอร์ได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษให้มีเส้นที่ไม่สมมาตรและมีการดัดแปลงส่วนปลายเพื่อช่วยหลีกเ
ลี่ยงการจับกับลำดับดีเอ็นเอที่ไม่ใช่เป้าหมาย ดีเอ็นเอถูกสกัดจากผลิตภัณฑ์เม็ดยาจีน 2 ชนิดคือ Angelica
sinensis (โสมตังกุย) และ Panax notoginseng (โสมซานซี) ถูกเชื่อมด้วยอแดปเตอร์และ amplified

ด้วยอแดปเตอร์ไพรเมอร์และไพรเมอร์บาร์โค้ดเพื่อให้ได้ ITS2 บางส่วน ผลปรากฏว่ามีชิ้นส่วน DNA
หลายขนาดภายในส่วนของ ITS2 ถูก amplified

และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการระบุสปีชีส์ที่ต้องการรู้ได้ ดังนั้น PCR แบบ ligation-mediated
adapter จึงเป็นวิธีสากลสำหรับการระบุชนิดของส่วนผสมสมุนไพรในผลิตภัณฑ์ได้เป็นอย่างดี

HRM analysis targeting ITS1 and matK loci as potential DNA mini-barcodes for the
authentication of Hypericum perforatum and Hypericum androsaemum in herbal infusions

สุดท้ายนี้ เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การทำ DNA barcoding ในยาจีนแบบเม็ดโดยใช้ปฏิกิริยา PCR เป็นตัวเชื่อม ที่เราสรุปมาให้นั้น จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ไม่มากก็น้อย และ หากมีความผิดพลาดในเนื้อหานี้ เราต้องกราบขออภัยมาใน ณ ที่นี้ด้วย


ติดตามข่าวสารล่าสุดก่อนใคร ได้ที่  WeeklyNews

ความคิดเห็น